urban resilience
Integrated Urban Climate Action
for Low-Carbon & Resilient Cities
for Low-Carbon & Resilient Cities
Year 2024
โครงการพัฒนาเมืองแบบองค์รวมเพื่อส่งเสริมการเติบโต
แบบคาร์บอนต่ำและเป็นเมืองที่ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้
แบบคาร์บอนต่ำและเป็นเมืองที่ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้
พ.ศ. 2567
Share on facebook
Facebook
Share on google
Google+
Share on twitter
Twitter
Share on linkedin
LinkedIn
Share on whatsapp
WhatsApp
(สำหรับภาษาไทย กรุณาเลื่อนลง)
First Part
Integrated Urban Climate Action for Low-Carbon & Resilient Cities, or Urban-Act, is a regional project in the Asia-Pacific region. It is funded by the International Climate Initiative (IKI) of the German Federal Ministry for Economic Affairs and Climate Action (BMWK). The project aims to support the transition to low-carbon and climate-resilient urban development, and to contribute to the implementation of national climate change targets and the Sustainable Development Goals (SDGs). The project is being implemented in five countries: China, India, Indonesia, the Philippines, and Thailand. It has a timeframe of April 2022 to December 2027.
Thammasat University Research Unit in Urban Futures and Policy, in collaboration with the National Energy Technology Center (ENTEC) and the Faculty of Law, Chulalongkorn University, is the national implementing agency for the Urban-Act project in Thailand. The project will be implemented in Phuket Province.
Second Part: Implementation Approach of the Urban Act Phuket :
Integrated Planning System and Transformative Action planning
Implementation Approach for Phuket : Integrated Planning System and Transformative Action planning
1.Promote coherence of urban planning at all levels – national, regional, and local
2.Planning system = Policy formulation and Implementation - Land use policy, transportation policy, low-carbon infrastructure, master plan and design guidelines for action plans, and institutional design for laws and regulations
3.As integrated tool for mitigation and adaptation planning and actions - Transportation, water resources, human settlements and security sector
Third Part: 4 Target Outcomes of the Urban Act Phuket Initiative
1.Policy Instrument for climate sensitive urban development
2.Evidence-based and inclusive climate-sensitive spatial and urban planning
3.Project concepts for urban climate action investment identified
4.Enhanced knowledge through regional networking, exchange, and learning
(ฉบับภาษาไทย)
ส่วนที่ 1
โครงการพัฒนาเมืองแบบองค์รวมเพื่อส่งเสริมการเติบโตแบบคาร์บอนต่ำและเป็นเมืองที่ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้ หรือ Urban-Act เป็นโครงการในระดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ได้รับสนับสนุนงบประมาณจากแผนงานปกป้องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศระดับสากล (IKI) โดยกระทรวงเศรษฐกิจ และ การดำเนินการด้านสภาพภูมิอากาศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (BMWK) มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การพัฒนาเมืองแบบคาร์บอนต่ำและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้ รวมทั้งมีส่วนร่วมในการดำเนินการตามเป้าหมายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศระดับชาติ และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดำเนินการใน 5 ประเทศ ได้แก่ จีน อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และไทย ภายใต้กรอบระยะเวลาการดำเนินโครงการตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2565 ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2570
โดยหน่วยวิจัยอนาคตและนโยบายเมืองแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University Research Unit in Urban Futures and Policy) ร่วมกับ ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ (National Energy Technology Center (ENTEC) และ คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Faculty of Law, Chulalongkorn University) เป็นหน่วยงานดำเนินงานระดับประเทศ ที่ร่วมดำเนินงานในพื้นที่นำร่องจังหวัดภูเก็ต
ส่วนที่ 2: แนวทางการดำเนินงานของจังหวัดภูเก็ต : การวางแผนบูรณาการอย่างเป็นระบบ
1. ส่งเสริมความสอดคล้องของการวางแผนและผังเมืองในทุกระดับ – ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น
2. การกำหนดนโยบายและการนำไปปฏิบัติได้จริง - นโยบายการใช้ประโยชน์ที่ดิน นโยบายด้านการคมนาคมขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานแบบคาร์บอนต่ำ ผังแม่บทและแนวทางการออกแบบแผนปฏิบัติการ และ การออกแบบสถาบันไปสู่กฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ
3. การลดผลกระทบ (mitigation) และสร้างการปรับตัว (adaptation) ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศควบคู่กัน - ภาคส่วนการขนส่ง ทรัพยากรน้ำ ภาคส่วนการตั้งถิ่นฐานและความมั่นคงมนุษย์
ส่วนที่ 3: 4 เป้าหมายผลลัพธ์ของโครงการจังหวัดภูเก็ต
1.ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและกลไกเชิงสถาบันสำหรับการพัฒนาเมืองที่อ่อนไหวต่อภูมิอากาศ
2.วางแผนพัฒนาเมืองและการผังเมืองบนพื้นฐานข้อมูลภูมิอากาศ
3.สนับสนุนการพัฒนาแนวคิดโครงการสำหรับการลงทุนเพื่อการดำเนินมาตรการด้านภูมิอากาศในภาคเมือง
4.เพิ่มพูนความรู้ผ่านการสร้างเครือข่าย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับภูมิภาค
Supported by
Political Parners
Consortium partners
national
Research Team (ทีมนักวิจัย)
Thammasat University Research Unit in Urban Futures and Policy
หน่วยวิจัยอนาคตและนโยบายเมืองแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Assoc. Prof. Dr. Wijitbusaba Marome (Team lead)
รศ. ดร. วิจิตรบุษบา มารมย์ (หัวหน้าโครงการ)
Asst. Prof. Dr. Boonanan Natakun (Social engagement)
ผศ. ดร. บุณอนันต์ นทกุล (ผู้เชี่ยวชาญด้านกระบวนการมีส่วนร่วม)
Tridti Patarakiatsan (Masterplan & urban design)
ธฤติ ภัทรเกียรติสรร (ผู้เชี่ยวชาญด้านออกแบบชุมชนเมือง)
Nontarit Bejrananda (Project manager)
นนทฤทธิ์ เพชรานนท์ (ผู้จัดการโครงการ)
Pirunpone Saeaueng (Research assistant)
พิรุฬน์พร แซ่อึ้ง (นักวิจัย)
Pachara Mainn (Research assistant)
พชร มาอินทร์ (นักวิจัย)
Chakrit poonprapan (Research assistant)
ชาคริต พูนประพันธ์ (นักวิจัย)
Pannatat Jittakul (Research assistant)
ปัณณทัต จิตตกูล (นักวิจัย)
Maneewan Amornwattanapong (Research assistant)
มณีวัลย์ อมรวัฒนพงศ์ (นักวิจัย)
Phirakorn Phensiri (Research assistant and network manager)
พีรกร เพ็ญศิริ (นักวิจัยและผู้จัดการเครือข่าย)
National Energy Technology Center (ENTEC)
ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ
Dr. Nuwong Chollacoop (Director of low-carbon energy research group)
ดร. นุวงศ์ ชลคุป (หัวหน้าทีมวิจัยพลังงานคาร์บอนต่ำ)
Dr. Kampanart Silva (Research assistant)
ดร.กัมปนาท ซิลวา (นักวิจัย)
Khemrath Vithean (Research assistant)
Khemrath Vithean (นักวิจัย)
Dr. Tawan Champeecharoensuk (Research assistant)
ดร. ตะวัน จาปีเจริญสุข (นักวิจัย)
Faculty of Law, Chulalongkorn University
คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Asst. Prof. Dr. Pornson Liengboonlertchai (Constitutional & public law)
ผศ. ดร. พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย (ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย)