urban resilience
Enhancing Adaptation to Climate Change by Integrating Climate Risk into Long-Term Development Plans and Disaster Management
case studies of Manila, Mumbai and Bangkok
case studies of Manila, Mumbai and Bangkok
Year 2011-2012
โครงการการพัฒนาเมืองเพื่อเพิ่มศักยภาพในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการผนวกความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเข้าสู่การวางแผนพัฒนาเมืองระยะยาว และการจัดการภัยพิบัติ
กรณีศึกษา มะนิลา มุมไบ และ กรุงเทพมหานคร
กรณีศึกษา มะนิลา มุมไบ และ กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2554-2555
Share on facebook
Facebook
Share on google
Google+
Share on twitter
Twitter
Share on linkedin
LinkedIn
Share on whatsapp
WhatsApp
(สำหรับภาษาไทย กรุณาเลื่อนลง)
Extreme weather events affect vulnerable urban areas adversely, with substantial damage, disruption of normal economic and social activities and services and loss of human life and can also alter the medium or long-term development trajectory of the cities.
Thus, disaster management is an important context for integrating adaptation into decision-making for the cities at risk. The APN funded research project in Mumbai, Bangkok and Manila has been undertaken with the primary objective of identifying and measuring the short to medium-term impacts and responses to extreme weather events and their policy implications for long-term adaptation capacity and development planning for the cities.
The project includes analysis of primary and secondary data to measure the physical, economic and social losses in the case study cities. We also examine the short to medium term responses from the local government and citizens and evaluate if they enhance the adaptation capacity of the cities to cope with future weather events and flood risks.
This analysis has policy implications for disaster management, city resilience and adaptive capacity of the cities in the longterm. The project is particularly relevant to the selected cities belonging to the developing world where natural disasters have long-term implications for development and poverty alleviation.
(ฉบับภาษาไทย)
สถานการณ์ของภาวะอากาศสุดขั้วส่งผลกระทบต่อกลุ่มคนเปราะบางในเมืองอย่างรุนแรง ทั้งความเสียหายที่เกิดขึ้นอย่างเห็นได้ชัด การหยุดชะงักของกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ และกิจกรรมและบริการต่างๆ ทางสังคม รวมไปถึงความสูญเสียชีวิตและอาจจะทำให้เมืองไม่สามารถบรรลุเป้าหมายการพัฒนาเมืองในระยะกลางและระยะยาวได้
ดังนั้น การจัดการภัยพิบัติเป็นบริบทที่สำคัญอย่างมากที่ควรถูกผนวกการปรับตัวเข้ากับการตัดสินใจในการพัฒนาเมือง วางแผนเมือง ที่มีความเสี่ยง โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนจาก APN หรือ Asia-Pacific Network for Global Change Research ทำการศึกษาที่ มะนิลา มุมไบ และกรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบระยะสั้นจนถึงระยะกลาง และการตอบสนองต่อเหตุการณ์ภาวะอากาศสุดขั้วของเมือง รวมไปถึงการเสนอแนะการกำหนดนโยบายระยะยาวเพื่อสร้างขีดความสามารถในการปรับบตัว และการวางแผนการพัฒนาเมือง
โครงการนี้วิเคราะห์ข้อมูลทั้งทุติยภูมิ และปฐมภูมิ เพื่อศึกษาความสูญเสียทางกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคมของเมืองในกรณีศึกษา และยังทำการศึกษาการตอบสนอง การรับมือระยะสั้น จนถึงระยะกลางของหน่วยงานท้องถิ่นและประชาชน และสังเคราะห์เพื่อเสนอแนะการส่งเสริมขีดความสามารถในการปรับตัวของเมืองเพื่อรับมือกับภาวะอากาศสุดขั้วและความเสี่ยงน้ำท่วมในอนาคต
การวิเคราะห์ยังนำไปซึ่งการกำหนดนโยบายเพื่อจัดการภัยพิบัติ การพัฒนาเมืองให้รองรับการเปลี่ยนแปลงได้ รวมถึงการเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวของเมืองในระยะยาว เมืองในกรณีศึกษาที่ถูกเลือกนี้ ยังมีความสำคัญในฐานะที่เป็นเมืองในประเทศกำลังพัฒนา เป็นเมืองที่มีความเสี่ยงอันดับต้นๆ จากภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมถึงเป็นเมืองที่มีความจำเป็นในการขจัดความยากจนและการพัฒนาเมืองให้ดีขึ้นอีกด้วย
Research Team (ทีมนักวิจัย)
Dr. Archana Patankar (ดร.อาร์ชานะ ปาทานการ์)
K.J. Somaiya Institute Of Management Studies & Research, Mumbai, India
Prof. Anand Patwardhan (ศ.อานันท์ ปัตวาร์ธาน)
School of Public Policy,University of Maryland
Assoc.Prof. Wijitbusaba Marome (รศ.ดร. วิจิตรบุษบา มารมย์)
Faculty Of Architecture And Planning, Thammasat University
Prof. Emma Porio (ศ.เอ็มม่า โพริโอ)
Ateneo De Manila University, Manila, Philippines