Add Your Heading Text Here
urban resilience
Characterizing Public and Private Adaptation to Climate Risks and Implications for Long-Term Adaptive Capacity in Asian Megacities
case studies of Manila, Mumbai and Bangkok
case studies of Manila, Mumbai and Bangkok
year 2014-2015
โครงการศึกษาการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของภาครัฐและภาคเอกชน และการเพิ่มขีดความสามารถการปรับตัวระยะยาวของมหานครในเอเชีย
กรณีศึกษา มะนิลา มุมไบ และ กรุงเทพมหานคร
กรณีศึกษา มะนิลา มุมไบ และ กรุงเทพมหานคร
พ.ศ.2557-2558
Share on facebook
Facebook
Share on google
Google+
Share on twitter
Twitter
Share on linkedin
LinkedIn
Share on whatsapp
WhatsApp
(สำหรับภาษาไทย กรุณาเลื่อนลง)
Climate-related hazards are evident not just in case of low-probability high-consequence events but also for high-probability low-consequence events, which lead to recurrent impacts and recurrent costs of adaptation. The coastal cities of South and South East Asia are acutely vulnerable to heavy precipitation, sea-level rise, cyclones and typhoons.
The cities face frequent weather events related to heavy precipitation resulting in flash floods, loss of life and property, heavy damages to infrastructure and disruption of economic and social services. In light of this, it is critical to assess the vulnerabilities and adaptation strategies used by the coastal cities to cope with future climate risks.
The existing literature on adaptation measures and their typology focuses on the widely used public or institutional adaptation measures. However, the private stakeholders like households and commercial/industrial establishments also undertake adaptation measures that need to be characterized to understand their costs, burden on the stakeholders and effectiveness in enhancing adaptive capacity.
This study characterizes public and private adaptation measures in the three cities, Mumbai (India), Bangkok (Thailand) and Manila (Philippines) by using primary data gathered from households and commercial/industrial establishments and secondary data obtained from government entities and also evaluates their effectiveness and contribution to long-term resilience.
(ฉบับภาษาไทย)
ภัยที่เกี่ยวข้องกับภูมิอากาศนั้น มิได้มีเพียงภัยที่มีความเป็นไปได้ในการเกิดน้อยแต่มีผลกระทบที่สูง แต่ยังมีภัยที่มีความไปได้ในการเกิดสูงแต่ผลกระทบอาจจะไม่มากนัก ซึ่งนำไปสู่ผลกระทบที่เกิดซ้ำแล้วซ้ำอีก และค่าใช้จ่ายในการปรับตัวที่ต้องใช้ซ้ำๆ กัน ซึ่งเมืองชายฝั่งในภูมิภาคเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แท้จริงแล้วยังมีความเปราะบางจากฝนที่ตกหนัก น้ำทะเลหนุน พายุไซโคลน และใต้ฝุ่น
เมืองเหล่านี้ กำลังเผชิญกับเหตุการณ์ทางสภาพอากาศที่เกี่ยวข้องกับฝนตกหนัก น้ำท่วมฉับพลัน ความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน ความเสียหายของโครงสร้างพื้นฐาน และการหยุดชะงักของเศรษฐกิจและกิจกรรมทางสังคมที่เกิดบ่อยมากยิ่งขึ้น เหล่านี้เป็นที่มาของความจำเป็นในการประเมินความเปราะบางและยุทธศาสตร์ในการปรับตัวของเมืองชายฝั่งเหล่านี้ ว่าจะสามารถรับมือกับความเสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคตได้หรือไม่
งานศึกษาที่ผ่านที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์การปรับตัวมักจะเน้นการศึกษาการปรับตัวของสถาบันของภาครัฐ และอย่างไรก็ถาม ภาคเอกชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อย่างเช่น ครับเรือน ภาคอุตสาหกรรม ยังควรถูกวิเคราะห์การปรับตัวเพื่อที่จะทำความเข้าใจลักษณะค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น อุปสรรคที่เกิดขึ้น รวมไปถึงประสิทธิภาพในการเสริมสร้างขีดความสามารถในการปรับตัวอีกด้วย
การศึกษานี้เป็นการศึกษาการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของภาครัฐและภาคเอกชน และการเพิ่มขีดความสามารถการปรับตัวระยะยาวของมหานครในเอเชีย กรณีศึกษา มะนิลา มุมไบ และ กรุงเทพมหานคร โดยการใช้ข้อมูลปฐมภูมิ ที่ได้รวบรวมจากครัวเรือนและภาคอุตสาหกรรม รวมไปถึงข้อมูลทุติยภูมิจากภาครัฐ เพื่อเสนอแนะการพัฒนาเมืองให้รองรับการเปลี่ยนแปลง รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคตระยะยาวได้
Research Team
Dr. Archana Patankar (ดร.อาร์ชานะ ปาทานการ์)
K.J. Somaiya Institute Of Management Studies & Research, Mumbai, India
Prof. Anand Patwardhan (ศ.อานันท์ ปัตวาร์ธาน)
School of Public Policy,University of Maryland
Asst.Prof. Wijitbusaba Marome (ผศ.ดร. วิจิตรบุษบา มารมย์)
Faculty Of Architecture And Planning, Thammasat University
Prof. Emma Porio (ศ.เอ็มม่า โพริโอ)
Ateneo De Manila University, Manila, Philippines