urban resilience
Coastal Cities at Risk (CCaR): Building Adaptive Capacity for Managing Climate Change in Coastal Megacities
Case study of Vancouver, Manila, Lagos and Bangkok
Case study of Vancouver, Manila, Lagos and Bangkok
year 2011-2016
เมืองชายฝั่งที่มีความเสี่ยง (CCaR): การเสริมสร้างศักยภาพการปรับตัวสำหรับการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในมหานครชายฝั่ง
กรณีศึกษา: เมืองแวนคูเวอร์ ลากอส มะนิลา และกรุงเทพฯ และปริมณฑล
กรณีศึกษา: เมืองแวนคูเวอร์ ลากอส มะนิลา และกรุงเทพฯ และปริมณฑล
พ.ศ.2554-2559
Share on facebook
Facebook
Share on google
Google+
Share on twitter
Twitter
Share on linkedin
LinkedIn
Share on whatsapp
WhatsApp
(สำหรับภาษาไทย กรุณาเลื่อนลง)
The International Research Initiative on Adaptation to Climate Change - Coastal Cities at Risk (IRIACC-CCAR) is a five-year (2011-2016) program involving in-depth transdisciplinary studies of integrated risk in coastal megacities.
The International Development Research Centre (IDRC) of Canada manages IRIACC-CCAR in collaboration with three main research granting bodies, known as the Tri-Council: The Social Sciences and Humanities Research Council
(SSHRC), the Natural Sciences and Engineering Research Council of Canada (NSERC) and the Canadian Institutes of Health Research (CIHR). Various academic and research institutions within the Philippines, Thailand, Nigeria and Canada are involved in action research initiatives.
Coastal Cities at Risk (CcaR) is an interdisciplinary research - natural, engineering, sociopolitical-economic and health scientists and has objectives to develop the knowledge base and enhance the capacity of mega-cities to successfully adapt to and when necessary, cope with risks posed by the effects of climate change, including sea level rise, in the context of urban growth and development.
A. Advance knowledge of climate change adaptation and disaster risk reduction:
B. Develop strategies and methodologies for climate change adaptation:
C. Enhance practitioner and academic capacity and transfer knowledge:
There are six thematic components to the IRIACC-CCAR Project, namely:
1. Characterization of hazards
2. Characterization of exposure, vulnerability, and risk
3. Understanding of decision-making
4. City System Dynamics Risk Simulator
5. Response strategies leading to knowledge-based actions
6. Knowledge-transfer and capacity building
The research program integrates climate change adaptation and disaster risk reduction approaches towards building disaster resilient cities. We recognize that people’s opportunities to influence their lives and future, participate in decision making and voice their concerns are fundamental for sustainable development. We underscore that sustainable development requires concrete and urgent action. It can only be achieved with a broad alliance of people, governments, civil society, and private sector, all working together to secure the future we want for present and future generations.
In this regard, UFP also designs innovative tool to enhance social resilience by translating scientific knowledge from the CcaR research into actions by using serious gamification of Urban Climate Resilience Board Game.
CCaR Project responds to Sendai Framework for Disaster Risk Reduction (SFDRR) priorities, as follows:
1. Understanding disaster risk (R) in coastal megacities by
the integrated analyses of hazard (H), exposure (E) and
vulnerability (V) utilizing a systems dynamics approach.
2. Strengthening disaster risk governance by
mainstreaming science into policy and practice
through collaboration between local and national
governments, the private sector and NGOs.
3. Investing in disaster risk reduction by designing
strategies for hazard mitigation and social
development.
4. Enhancing disaster preparedness for effective response
and to “Build Back Better” in recovery, rehabilitation
and reconstruction by supporting and implementing
evidence-based legislation and advancing risk
education.
(ฉบับภาษาไทย)
จุดประสงค์ : พัฒนาฐานความรู้และเพิ่มความสามารถของการพัฒนาเมืองให้ประสบความสำเร็จในการปรับตัว และความจำเป็นที่จะต้องรับมือกับความเสี่ยงที่เกิดจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศ รวมถึงการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลในบริบทของการเติบโตของเมืองและการพัฒนา งานวิจัยนี้มี ดร. อานนท์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน): GISTDA เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย และ ผศ. ดร. วิจิตรบุษบา มารมย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง ม.ธรรมศาสตร์ เป็นหัวหน้าทีมวิจัยกรุงเทพฯ โดยได้รับทุนสนับสนุนจาก ศูนย์พัฒนาการวิจัยระหว่างประเทศ แห่งประเทศแคนาดา ร่วมกับสภาวิจัยของแคนาดาอีก 3 แห่ง ได้แก่ สถาบันวิจัยสุขภาพแคนาดา สภาวิจัยวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและวิศวกรรมแห่งประเทศแคนาดา และ สภาวิจัยสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์แห่งประเทศแคนาดา
มีการจัดแบ่งออกเป็น 3 วัตถุประสงค์หลักครอบคลุมกับองค์ประกอบย่อยที่เกี่ยวข้อง:
A.มีความรู้ในเรื่องของการปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติของเมือง:
A1.ลักษณะภูมิอากาศที่เกี่ยวข้องกับภัยพิบัติ , ความเปราะบางและความเสี่ยง
A2.ทำความเข้าใจเกี่ยวกับการตัดสินใจในหลักธรรมาภิบาลและสังคม
A3.กำหนด คุณสมบัติและปริมาณความสัมพันธ์ระหว่างผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศ,
กลยุทธ์การปรับตัว และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม
B.การพัฒนากลยุทธ์และวิธีการสำหรับการปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของเมือง:
B1. การบูรณาการการปรับตัวและกลยุทธ์การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติและการปฏิบัติตามฐานความรู้
B2.การสร้างแบบจำลองสหวิทยาการเพื่อการพัฒนา,ทดสอบและการให้เหตุผลของฐานข้อมูลการปฏิบัติ
C.การเพิ่มผู้ดำเนินการและความสามารถทางวิชาการและการถ่ายโอนความรู้:
C1. เพิ่มจำนวนของคนที่มีคุณภาพสูงในประเทศแคนาดาและต่างประเทศโดยการระดมทรัพยากร,
การแลกเปลี่ยนความรู้และการถ่ายโอนความรู้
C2. การถ่ายโอนความรู้ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับชุมชนและโครงการที่ผ่านการประชุมเชิงปฏิบัติการ,
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และการเปรียบเทียบหรือปฏิบัติตามโครงการร่วมกับพันธมิตร
หัวข้อสำคัญของงานวิจัยมี 6 หัวข้อสำคัญ ดังนี้
1.การอธิบายลักษณะของความเปราะบางและความเสี่ยงของเมือง
2.การอธิบายลักษณะของภัยพิบัติที่จะเกิดกับเมือง
3.เข้าใจในกระบวนการตัดสินใจของเมือง
4.แบบจำลองระบบการประเมินความเสี่ยงของเมืองในอนาคต
5.ตอบสนองต่อกลยุทธ์ที่นำไปสู่การปฏิบัติตามฐานความรู้
6.แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเสริมสร้างศักยภาพ
Urban Resilience
Book
Future City Book
in collaboration with
Thailand Greenhouse Gas
Management Organization (TGO)
and SEA START
Research Team
Assoc.Prof. Wijitbusaba Marome (รศ.ดร. วิจิตรบุษบา มารมย์)
Faculty of Architecture and Planning, Thammasat University
Asst. Prof. Pannee Cheewinsiriwat (ผศ.ดร. พรรณี ชีวินศิริวัฒน์)
Faculty of Arts, Chulalongkorn University
Assoc. Prof. Itthi Trisirisatayawong (รศ.ดร. อิทธิ ตริสิริสัตยวงศ์)
Faculty of Engineering, Chulalongkorn University
Dr. Richard Cooper (ดร. ริชาร์ด คูเปอร์)
SEA START
Asst. Prof. Uma Langkulsen (ผศ.ดร. อุมา ลางคุลเสน)
Faculty of Public Health, Thammasat University
Dr.Thuttai Keeratipongpaiboon (ดร. ทัชไท กีรติไพบูลย์)
NESDB